Research: Talent, Giftedness
1. From the playful to the profound: What metaphors tell us about gifted children. By: Deborah F G Fraser. Roeper Review. Bloomfield Hills: Summer 2003. Vol. 25, Iss. 4; pg. 180
|
|||
Subjects: |
|||
Author(s): |
|||
Article types: |
Feature |
||
Section: |
The young gifted child |
||
Publication title: |
Roeper
Review. Bloomfield Hills: Summer
2003. Vol. 25, Iss. 4; pg. 180 |
||
Source Type: |
Periodical |
||
ISSN/ISBN: |
02783193 |
||
ProQuest document ID: |
379851791 |
||
Text Word Count |
4426 |
||
Article URL: |
|
||
Summary;
บทความนี้กล่าวถึงเด็กที่มีพรสวรรค์ หรือความสามารถพิเศษด้านความคิดสร้างสรรค์ เด็กเหล่านี้มีความสามารถในการใช้คำอุปมา ซึ่งคำอุปมาที่เด็กเหล่านี้สร้างสรรค์ขึ้นนั้นสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถพิเศษของพวกเขาจากความรู้สึกที่ลึกซึ้ง และมิติทางด้านจิตใจ ที่มีต่อการมองอย่างลึกซึ้ง เข้าไปในตัวมนุษย์ ในด้านอารมณ์ขันและความสนุกสนาน
2. A developmental view of giftedness: From being to doing. By: Rena F Subotnik. Roeper Review. Bloomfield Hills: Fall 2003. Vol. 26, Iss. 1; pg. 14
|
Subjects: |
|
Author(s): |
|
Article
types: |
Commentary |
Publication
title: |
Roeper
Review. Bloomfield
Hills: Fall
2003. Vol. 26, Iss. 1; pg. 14 |
Source
Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
02783193 |
ProQuest
document ID: |
463168331 |
Text
Word Count |
2249 |
Article
URL: |
|
Summary;
Subotnik แสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ในหลายๆ รูปแบบ ที่อธิบายด้วยหลักเหตุผล ในการเข้าถึงการพัฒนาด้านความสามารถพิเศษ โดยพิจารณาตัวแปรดังต่อไปนี้ ศักยภาพทางวิชาการการศึกษา วัยวุฒิ การตอบสนองต่อสิ่งท้าทาย ขอบเขตของความสนใจและความสามารถ ความทะเยอทะยาน คำแนะนำด้านอาชีพ และความสามารถพิเศษในการโน้มน้าวผู้อื่น โดยสรุปคือ นัยสำคัญของการพัฒนาความสามารถพิเศษ จากจุดที่เป็นจริงไปสู่จุดที่คาดหวัง ประกอบด้วย 2 สิ่ง คือ การให้การอบรมอย่างมีศักยภาพแก่เด็ก และ การกระตุ้นเรื่องความสำเร็จ แก่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่
3. The transition from childhood giftedness to adult creative productiveness: Psychological characteristics and social supports. By: Paula Olszewski-Kubilius. Roeper Review. Bloomfield Hills: Dec 2000. Vol. 23, Iss. 2; pg. 65, 7 pgs
|
Subjects: |
|
Author(s): |
|
Article
types: |
Feature |
Publication
title: |
Roeper
Review. Bloomfield
Hills: Dec
2000. Vol. 23, Iss. 2; pg. 65, 7 pgs |
Source
Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
02783193 |
ProQuest
document ID: |
65641563 |
Text
Word Count |
6897 |
Article
URL: |
|
Olszewski - Kubilius ได้ทำการสำรวจแหล่งที่มาของความแตกต่างในการจูงใจ รวมถึงคุณลักษณะทางจิตวิทยาอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของสิ่งแวดล้อมในวัยเด็ก ซึ่งนำไปสู่ความสำเร็จ ในงานคิดสร้างสรรค์ในวัยผู้ใหญ่
ผลการสำรวจแสดงให้เห็นว่า โดยส่วนใหญ่เด็กที่มีความสามารถพิเศษ ไม่ได้กลายเป็น ผู้สร้างสรรค์ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ซึ่งไม่ใช่เพราะเด็กขาดศักยภาพทางสติปัญญา หรือขาดโอกาส เนื่องจากเด็ก เหล่านี โดยส่วนใหญ่จะมาจากชนชั้นกลาง ที่ครอบครัวสามารถส่งเสริม การพัฒนาความสามารถพิเศษ ดังนั้นคำตอบจะเอนเอียงไปในสิ่งแวดล้อม ที่เด็กแต่ละคนเผชิญ
4. Linking theoretical models to actual practices: A survey of teachers in gifted education. By: Sherry K Bain, Shawn J Bourgeois, Danielle N Pappas. Roeper Review. Bloomfield Hills: Summer 2003. Vol. 25, Iss. 4; pg. 166
» |
Subjects: |
|
Author(s): |
|
Article types: |
Feature |
Section: |
Examining priorities in gifted education |
Publication title: |
Roeper
Review. Bloomfield Hills: Summer
2003. Vol. 25, Iss. 4; pg. 166 |
Source Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
02783193 |
ProQuest document ID: |
379851821 |
Text Word Count |
6947 |
Article URL: |
|
ผลการสำรวจของครูจาก Gifted and Talented Program ทางรัฐทางตะวันออกเฉียงใต้ของอเมริกา ซึ่งสำรวจจากเด็กนักเรียนอนุบาลถึงชั้นมัธยมต้นซึ่งมีความสามารถพิเศษ โดยจุดประสงค์หลักของการสำรวจนี้ เพื่อหาข้อมูลเกียวกับการรับรู้ของคุณครู ในเรื่องรูปแบบทฤษฎี สำหรับการใช้การศึกษาอบรมความสามารถพิเศษ ซึ่งในการเลือกใช้รูปแบบทฤษฎีของครู จะตั้งอยู่ฐานของแผนงาน ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามบริบท เช่น มลรัฐ พื้นที่ เป็นต้น ซึ่งผลส่วนใหญ่ชี้ว่า การรับรู้ของความจำเป็นในการพัฒนาความสามารถพิเศษของเด็กนั้นกำลังเปลี่ยนไป
5. Myth and reality: A review of empirical studies on giftedness. By: Albert Ziegler, Thomas Raul. High Ability Studies. Abingdon: Dec 2000. Vol. 11, Iss. 2; pg. 113, 25 pgs
|
Author(s): |
|
Publication title: |
High
Ability Studies. Abingdon: Dec
2000. Vol. 11, Iss. 2; pg. 113, 25 pgs |
Source Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
13598139 |
ProQuest document ID: |
66031133 |
Text Word Count |
9740 |
Article
URL: |
|
Summary;
บทความวิจารณ์นี้มีรากฐานมาจากบทความที่ถูกตีพิมพ์ ในปี 1997 และปี 1998 ในวารสารเกี่ยวกับ การวิจัยในการเปรียบเทียบ ความสามารถพิเศษ และความสามารถระดับสูง ซึ่งผลการวิจัยในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า มันเป็นการยากที่จะเปรียบเทียบ การศึกษาวิจัยเนื่องจากกระบวนการที่ใช้ในการแสดงให้เห็นถึงความสามารถพิเศษที่มีความหลากหลาย ในทางตรงกันข้าม ผลการศึกษาพบว่า เป็นที่ได้รับการยืนยันแล้วว่า ในการวิจัยเรื่องความสามารถพิเศษมักจะได้ผลที่ไม่น่าพึงพอใจ ดังนั้นจุดประสงค์ของบทความนี้ คือการหาข้อสรุปในเรื่องทฤษฏี และวิธีการในการวิจัย ในด้านความสามารถพิเศษ
6. Who is creative? Identifying children's creative abilities. By: Anne S Fishkin, Aileen S Johnson. Roeper Review. Bloomfield Hills: Sep 1998. Vol. 21, Iss. 1; pg. 40, 7 pgs
» |
Author(s): |
|
Publication title: |
Roeper
Review. Bloomfield Hills: Sep
1998. Vol. 21, Iss. 1; pg. 40, 7 pgs |
Source Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
02783193 |
ProQuest document ID: |
38203481 |
Text Word Count |
6288 |
Article
URL: |
|
Summary;
บทความนี้กล่าวถึงเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การแสดงออก และความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก จุดประสงค์เพื่อการกำหนดมาตรฐานในการวัดความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก รวมถงการอภิปรายในเรื่องการประเมินความประพฤติที่สสับซับซ้อน โดยผู้เขียนยังทำการเปรียบเทียบ จุดอ่อนและ จุดแข็งของวิธีที่ใช้ในการประเมินความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอีกด้วย
7. Beliefs of students talented in academics, music, and dance concerning the heritability of human abilities in these fields. By: Tania Tremblay, Francoys Gagne. Roeper Review. Bloomfield Hills: Apr 2001. Vol. 23, Iss. 3; pg. 173, 5 pgs
» |
Subjects: |
Heredity, Gifted
children, Academic
achievement, Music, Dance |
|
Author(s): |
||
Article types: |
Feature |
|
Publication title: |
Roeper
Review. Bloomfield Hills: Apr
2001. Vol. 23, Iss. 3; pg. 173, 5 pgs |
|
Source Type: |
Periodical |
|
ISSN/ISBN: |
02783193 |
|
ProQuest document ID: |
71974775 |
|
Text Word Count |
4877 |
|
Article
URL: |
|
|
Summary;
จากการวิจัยของ Tania Tremblay และ Francoys Gagne เรื่องความเชื่อเกียวกับ เด็กนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ในทางวิชาการ ทางดนตรี และการเต้นรำ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถพิเศษของมนุษย์ในขอบเขตดังกล่าว ที่สืบทอดจากพ่อแม่ ไปยังเด็กได้ โดยการวิจัยนี้แบ่งเด็กนักเรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม (ทางวิชาการ ทางดนตรี และการเต้นรำ) เพื่อประเมินความสามารถพิเศษของมนุษย์ ที่สืบทอดจากพ่อแม่ใน 3 ทางคือ ทางการรับรู้ ทางดนตรี ทางร่างกาย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความสามารถพิเศษของเด็กนั้น เกิดขึ้นจากทั้งโดยธรรมชาติ และโดยการอบรมเลี้ยงดูที่เด็กได้รับ
8. Talent in Context. By: Mary Ainley. High Ability Studies. Abingdon: Jun 2000. Vol. 11, Iss. 1; pg. 87, 4 pgs
|
Author(s): |
|
Publication title: |
High
Ability Studies. Abingdon: Jun
2000. Vol. 11, Iss. 1; pg. 87, 4 pgs |
Source Type: |
Periodical |
ISSN/ISBN: |
13598139 |
ProQuest document ID: |
56410395 |
Text Word Count |
1547 |
Article
URL: |
|
Summary;
"In Processing!!!!"
Auu
9. DAO Citation - Translation (The one you sent it to me.)
หัวข้อ: การประเมินเรื่อง อิทธิพลของโปรแกรมการค้นหาความสามารถพิเศษ (Talent Search) ทั้งทางวิชาการ และทางอาชีพของผู้เข้าร่วมโปรแกรม
การศึกษานี้ต้องการจะเปรียบเทียบทัศนะคติของนักเรียนที่มีต่อโรงเรียน ระหว่างนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ Talent Search และนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรม โดยเครื่องมือที่ใช้จะวัด การรับรู้ของเด็กในด้าน ความชำนาญในสาขาวิชา การแสดงออก การจูงใจ แนวคิดของตนเอง เป็นต้น ผลการสำรวจชี้ว่า ระหว่างนักเรียนสองกลุ่มนี้ ไม่พบความแตกต่างในด้านของการจูงใจ และการกำหนดจุดมุ่งหมาย และรายงานด้านความสำเร็จด้านผลการเรียนของเด็กก็มีความคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตาม การสำรวจบางอย่างไม่สามารถชี้ชัดได้เนื่องจาก นักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการนั้นไม่มีประสบการณ์พอที่จะตอบคำถามได้ จึงสรุปว่า นักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการนั้นไม่มีประสบการณ์ในโครงการ ซึ่่งให้แรงจูงใจต่อโรงเรียน และการศึกษา
<<End>>